รีวิว The Dictator

รีวิวหนังฝรั่ง  ในแง่โปรดักชัน ตัวนักแสดง ซาช่า บารอน โคเอน ผู้รับบท นายพลอลาดีน และผู้กำกับ แลร์รี ชาร์ล เคยทำงานร่วมกันมาแล้วใน Borat (2006) และ Bruno (2009) ทั้งสองเรื่องนี้เต็มไปด้วยมุกตลกร้าย การเสียดสี และอารมณ์ขันเจ็บ ๆ โดย The Dictator ยังคงสไตล์เหมือนเดิมในแง่มุมใหม่

The Dictator ไม่ใช่ภาพยนตร์ใหม่แต่เป็นภาพยนตร์เก่าในปี 2012 ที่ไม่ว่าเวลาจะผ่านไปกี่ปี เรากลับรู้สึกว่าประเด็นในหนังไม่เก่าเลย ในวาระที่หนังเรื่องนี้เข้าฉายเน็ตฟลิกซ์ตั้งแต่ปลายปี 2018 (แบบไม่มีการประกาศเลื่อนเหมือนการเลือกตั้งบางประเทศ) เราขอนำประเด็นน่าสนใจในหนังมาปัดฝุ่นเล่าเรื่องเก่าในวันใหม่นี้ดีกว่า  ดูหนัง

รีวิว The Dictator

The Dictator เล่าเรื่อง “นายพล ฮัฟฟาซ อลาดีน” ผู้นำจอมเผด็จการแห่งประเทศวาดิยาแถบแอฟริกาเหนือ เขามีแนวคิดสุดโต่งในการเป็นเผด็จการ และต่อต้านทุกอย่างที่เป็นประชาธิปไตย ทว่าเรื่องราวกลับตาลปัตรเมื่อเขาได้รับเชิญเข้าร่วมประชุมในสหประชาชาติที่สหรัฐอเมริกา เขาถูกลักพาตัว โกนหนวดเครา ก่อนได้รับความช่วยเหลือจาก “โซอี” หญิงสาวนักเคลื่อนไหวในสังคมที่ทำให้เขาเห็นความสวยงามของประชาธิปไตย

อย่างเผด็จการ เล่าเรื่องตลกร้าย หยอกล้อ และเสียดสีนิสัยเผด็จการในทุกรูปแบบ ตั้งแต่การปกครอง ความคิด กีฬา กระทั่งวัฒนธรรม

รีวิว The Dictator

เราจะเห็นตั้งแต่ต้นเรื่องถึงโฆษณาชวนเชื่อเกี่ยวกับเขาว่า เกิดปี 1973 คุณแม่เสียชีวิต (ถูกฆาตกรรม) หลังคลอดทันที ทำให้อลาดีนเป็นบุตรคนเดียวของจอมเผด็จการคนก่อน “โอมาร์ อลาดีน” ซึ่งขึ้นสืบทอดอำนาจตั้งแต่วัย 7 ขวบ ไม่แปลกใจที่เขาจะ “ได้” ทุกอย่างในสิ่งที่ต้องการมาตั้งแต่เด็ก

 

รีวิว The Dictator
เขาเคยจัดโอลิมปิกของตัวเอง โดยกติกาตัวเอง และเพื่อตัวเองจนได้เหรียญทอง 14 เหรียญ ภาพความตลกที่เห็นคือการแข่งขันวิ่งที่อลาดีนออกตัวนำมาก่อน เป็นคนยิงปืนเริ่มเกม ยิงคู่แข่งคนอื่น และให้เส้นชัยวิ่งเข้ามาหาตัวเอง สะท้อนภาพเผด็จการได้อย่างแสบสันต์  ดูหนังออนไลน์

รีวิว The Dictator

รีวิว The Dictator จุดพลิกผันเกิดขึ้นเมื่อเขากลายเป็นธรรมดา ไร้อำนาจ ไร้ชื่อเสียง จากการทรยศของ “ลุงทหาร” ตัวเองที่ขึ้นมา “ยึดอำนาจ” จากการใช้คนหน้าเหมือนเข้ามาสวมรอยเป็นหุ่นเชิด ไม่เพียงเท่านั้น ลุงยังพยายามเปลี่ยนประเทศวาดิยาให้กลายเป็นประชาธิปไตยโดยเอื้อประโยชน์การสัมปทานน้ำมันให้กับกลุ่มนายทุนประเทศหนึ่งแทน

แต่ภายใต้การล้อเลียนนั้น ตัวบทกลับแฝงไปด้วยความฉลาดของทีมงานที่ให้เราหัวเราะพร้อมฉุกคิดอะไรบางอย่าง โดยเฉพาะฉากสุดท้ายที่อลาดีนพูดถึงคุณงามความดีของเผด็จการว่า

“ทำไมพวกคุณถึงจงเกลียดจงชังเผด็จการนักหนา ลองนึกภาพอเมริกาเป็นเผด็จการสิ คน 1 % สามารถฮุบเอาทรัพย์สมบัติชาติ คนรวยก็จะช่วยกันรวยขึ้นได้อีกด้วยกลไกภาษี ถ้าเจอวิกฤตก็จับมือกันล้มลงบนฟูก

ไม่ต้องแยแสคนรากหญ้าที่ไม่ได้รับสวัสดิการหรือการศึกษา สื่อดูเหมือนเป็นอิสระ แต่แท้จริงเบื้องหลังมีเครือข่ายลับคอยชักใย ดักฟังโทรศัพท์ได้ จับต่างชาติทรมานขังคุกได้ สามารถโกงผลการเลือกตั้ง แต่งเรื่องโกหกคนเพื่อทำสงคราม ตั้งข้อหาพิเศษขึ้นมาเพื่อจับคนบางกลุ่มเข้าคุกโดยไม่มีใครกล้าโวย สั่งสื่อปลุกกระแสตื่นกลัวให้กับผู้คนได้ เพื่อให้หลงสนับสนุนโยบายที่ทำลายส่วนรวม มันอาจยากที่อเมริกันจะนึกภาพพวกนี้ออก แต่คุณลองพยายามนึกให้ออก”

ขณะเดียวกัน เขาก็กล่าวถึงประชาธิปไตยว่า “ประชาธิปไตยเป็นการปกครองที่ห่วยที่สุด ต้องมาทนฟังมุมมองโง่ ๆ ของคนอื่น ให้คุณค่าทุกคนหนึ่งเสียงเท่ากันทั้งที่บางคนพิการ ผิวดี หรือเป็นผู้หญิง…” ก่อนเรื่องราวจะพลิกผันมาเป็น“…. ประชาธิปไตยมีข้อเสียไม่ใช่ระบอบสมบูรณ์แบบ แต่ประชาธิปไตย ฉันรักเธอ จึงทำให้ผมมุ่งเป้าที่ประชาธิปไตยแท้จริง รัฐธรรมนูญที่ไม่หมกเม็ด และการเลือกตั้งที่ถูกต้องในวาดิยา”


ตอนจบของเรื่องจึงเป็นการเปลี่ยนแปลงประเทศวาดิยาจาก “เผด็จการ” ให้กลายเป็น “ประชาธิปไตย” ด้วยการจัด “การเลือกตั้ง” อย่างไรก็ตาม การเลือกตั้งในภาพยนตร์ก็หาใช่การเลือกตั้งที่ยุติธรรมเท่าไหร่

มันก็เหมือนอย่างที่อลาดีนบอกไว้ว่า “เผด็จการสามารถโกงผลการเลือกตั้ง” ผลสุดท้ายการเลือกตั้งนายพลอลาดีนเอาชนะไปได้ถึง 98.8% เราจะเห็นภาพการใช้รถถังเข้าควบคุมผู้เลือกตั้งให้ต่อแถวเลือกอลาดีนอยู่วันยังค่ำ สะท้อนได้ว่าประเทศที่ผู้นำเกิดขึ้นจากเผด็จการ ก็จะยังคงสืบทอดอำนาจเดิมด้วยการย้อมแมวเผด็จการด้วยกลไกทางประชาธิปไตย

ด้วยต้นทุนหนัง 65 ล้านเหรียญสหรัฐ The Dictator ไม่เพียงประสบสำเร็จด้วยรายได้ 179 ล้านเหรียญฯ แต่ยังประสบความสำเร็จในแง่ตั้งคำถามกับ “การเลือกตั้งที่เกิดขึ้นใต้อำนาจเผด็จการ” (Elections Under Authoritarianism) เราจะเห็นได้ในหลาย ๆ ประเทศที่พยายามจัดการเลือกตั้งด้วยความฉ้อฉล ออกแบบกฎกติกาด้วยตนเอง และเอื้อผลประโยชน์ของตนเองมากที่สุด สุดท้ายแล้วกลายเป็นคนเผด็จการที่กลับเข้ามาครองอำนาจเดิมอยู่ดี

หลายครั้งที่คำว่า “การเลือกตั้ง” มักผูกติดกับ “ประชาธิปไตย” จนหลงลืมต้นกำเนิดของผู้ร่างกติกา

เพราะถ้าหากการเลือกตั้งนั้นเต็มไปด้วยกลโกงสกปรกโสมม คำถามสำคัญก็คือการเลือกตั้งที่ว่าจะเรียกว่าเป็นประชาธิปไตยที่แท้จริงได้หรือไม่?

หรือเป็นเพียงปาหี่เพื่อสร้างความชอบธรรมของเผด็จการผ่านกลไกของประชาธิปไตยที่กำลังหลอกคนทั้งประเทศกันแน่ แต่ทุกอย่างกลับพลิกผัน เมื่อเขาถูกหักหลัง ขนเคราอันเป็นเอกลักษณ์ของเขาถูกโกนเหี้ยนไป ไม่มีใครบนแผ่นดินโลกใหม่จะเชื่ออีกแล้วว่า เขาคือจอมเผด็จการ สิ่งที่เขาต้องทำคือการทวงคืนทุกอย่างที่(เขาคิดว่ามัน)เป็นของเขากลับมา ด้วยวิธีการป่วนๆ ฮาๆ ซึ่งทุกมุขเสียดสีสอดแทรกความเป็นไป ทั้งทางสังคมเผด็จการและ… เอิ่ม “ประชาธิปไตย”

ในเรื่องนี้ เราได้พบกับ Ben Kingsley ในบททาเมียร์ ลุงคนสนิทที่อยู่ข้างกายของอลาดีนตลอดเวลา แถมยังมีบทบาทสำคัญในเรื่องด้วย ยังได้พบกับ Anna Faris สาวสวยตัวเล็กๆ ที่ตัดผมสั้นคล้ายๆ ทอมบอยผู้มาทำให้จอมเผด็จการหวั่นไหว นอกจากนี้ เรายังได้พบกับดารารับเชิญมาร่วมแสดงหลายคน อย่างเช่น Megan Fox และ Edward Norton เขาจะมาตอนไหน ต้องตั้งใจชมกันดีๆ ดูหนัง 4k

หยิบมุมของเผด็จ

รีวิว The Dictator หนังค่อนข้างเน้นไปมุขตลกเสียดสีเต็มเรื่อง มันถึงได้เรท น18+ ในบ้านเรา และได้เรท R ในอเมริกา เลือกจะหยิบมุมของเผด็จการในแถบตะวันออกกลาง แต่เลี่ยงๆ มาเป็นประเทศที่ตั้งขึ้นใหม่แถบๆ แอฟริกาเหนือ เรื่องราวพลิกผันเสียดสีเจ็บๆ คันๆ เพียงแต่คนดูต้องเป็นคนติดตามเหตุการณ์ของโลกอยู่พอสมควรแน่นอนว่าประชาธิปไตยที่ใครต่อใครนับถือ ถือว่าเป็นศัตรูกับความเชื่อของจอมเผด็จการ Aladeen หนังเรื่องนี้ดู

ไปก็ขำไปแหล่ะ แต่ก็มีแอบฉุดคิดขึ้นมาด้วยว่ามันคล้ายเผด็จการคนไหนน้าาาา? ดูไปแล้วก็ลุ้นว่านายพลอลาดีน เขาจะเอายังไงกับชีวิตต่อไปของเขากันนะ อลาดีนต้องกลายเป็นโฮมเลสอยู่ในสหรัฐ อำนาจ ชื่อเสียง เงินทองที่เขาเคยมีนั้นหายไปเพราะคนจำไม่ได้ แต่ด้วยความช่วยเหลือจากนางเอก เธอได้เสนองานให้แก่อลาดีน และทำให้เป็นคนที่ดีขึ้น

The Dictator กำกับโดย แลร์รี่ ชาร์ล และนี่เป็นการร่วมงานกันครั้งที่ 3 สำหรับผู้กำกับจอมล้อเลียนเรื่องเชื้อชาติและนักแสดงที่พร้อมแปลงโฉมอย่าง ซาช่า บารอน โคเอน โดยหลังจากหนัง 2 เรื่องแรกค่อนข้างประสบความสำเร็จในด้านคำวิจารณ์และรายได้ อย่าง Borat และ Bruno เพราะฉะนั้นจึงไม่แปลกเลยถ้าหากหนังเรื่องที่ 3 ของพวกเขายังมาพร้อมกับลูกบ้าจากการแสดงและมุกตลกแนวเหยียด ซึ่งต้องขอเตือนไว้ก่อนว่า ใครที่

ไม่ชอบมุกตลก หรือไม่ชอบประเด็นการล้อเลียนใน Borat ก็คงจะไม่ชอบหนังเรื่องนี้ด้วยอย่างแน่นอน เพราะในเรื่องมันก็เต็มไปด้วยมุกตลกแนวเหยียดเชื้อชาติทั้งนั้นเลยโดยสรุป The Dictator อาจจะไม่สามารถเทียบชั้นกับ Borat ได้ แต่อย่างน้อยมันก็ยังถือว่ามีคุณภาพความฮามากกว่า Bruno อย่างแน่นอน เพราะสิ่งที่เด็ดที่สุดคงหนีไม่พ้น มุกตลก และ การแสดงของ ซาชา บารอน โคเอน ที่ยังฮาได้อยู่ แต่ถ้าหากใครหวังการเสียดสีหนักๆแนว Borat ก็อาจจะผิดหวังหน่อยครับ

ที่ยังคงเครียดกับปัญหาชีวิต และอยากจะหาหนังที่สามารถทำให้ขำจนน้ำตาเล็ดได้ โดยที่คุณไม่มีปัญหากับมุกตลกแนวเหยียดเชื้อชาติ และล้อเลียนผู้นำคนต่างๆ ผมว่า The Dictator ก็เป็นตัวเลือกที่ดีจนทำให้ช่วงองค์ประกอบที่ 3 ของหนังยังไม่สามารถนำพาประเด็นการเสียดสีเหล่านั่นไปให้ถึงจุดที่ดีได้เท่ากับ Borat ถึงแม้ว่าจะดีกว่า Bruno นิดหน่อยก็ตามที แถมในช่วงสุดท้ายปมปัญหาที่หนังสร้างมาเกี่ยวกับเรื่องราวของ ความรัก หนังก็ยังถือว่าหาทางออกง่ายไปนิดนึง แต่อย่างไรก็ตามถ้าหากใครช่วงนี้และตอนนี้ เขาผู้นั้นกลับมาอีกแล้วครับกับผลงานชิ้นใหม่ที่ดูจะเพิ่มความ

กล้าเข้าไปอีกกระบุงโกย เพราะคราวนี้ เขาไต่ระดับสูงขึ้นไปอีกขั้นด้วยการล้อเลียนเสียดสีผู้นำเผด็จการ ซึ่งจะเป็นใครก็ตามแต่ แต่การขึ้นต้นเรื่องด้วยไตเติ้ลว่า “ด้วยความระลึกอันที่จริง ก็ไม่เชิงว่าอย่างนั้นหรอกครับ เพราะตามความจริง หนังเรื่องนี้ รวมไปจนถึงสองเรื่องที่เอ่ยถึงข้างต้น เป็นผลงานการกำกับของลาร์รี่ ชาร์ลส์ แต่อาจเป็นเพราะความโดดเด่นในบทบาทและการแสดงของโคเฮนชนิดที่กล้าเล่นอย่างถึงพริกถึงขิงโดยไม่กังวลว่าภาพลักษณ์ของตนจะดูดีหรือไม่ในสายตาประชาชี จึงทำให้ผู้คนจดจำเขาได้ดี และนั่นจึงไม่แปลก ถ้าชื่อของเขาจะดังกว่าลาร์รี่ ชาร์ลส์ และถูกจับมาเป็นตัวสร้างจุดขายแทนชื่อของผู้กำกับ เว็บดูหนังฟรี

ใส่ความเห็น

อีเมลของคุณจะไม่แสดงให้คนอื่นเห็น ช่องข้อมูลจำเป็นถูกทำเครื่องหมาย *